กิจกรรมบำบัดเป็นวิธีหนึ่งในการฟื้นฟูความสามารถของผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางร่างกายและจิตใจ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ
Click เพื่ออ่านต่อ
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) เป็นภาวะที่ความสามารถทางสติปัญญาลดลง มีความบกพร่องในการจดจำ การคิดหรือตัดสินใจ ทำให้ผู้ที่เป็นมีอาการหลงลืม การใช้ภาษาผิดปกติ มีพฤติกรรมและอารมณ์เปลี่ยนแปลง ซึ่งไม่ใช่ภาวะของความชราตามปกติ การสังเกตอาการผิดปกติและปรึกษาแพทย์ตั้งแต่ระยะแรกอาจทำให้วินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น
โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) เป็นภาวะการเจ็บป่วยเฉียบพลันในระบบประสาทที่พบบ่อยที่สุด และเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต พิการ และนำมาซึ่งปัญหาด้านอารมณ์และจิตใจ นอกจากการดูแลของแพทย์แล้วครอบครัวคือปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วขึ้น
ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความอ่อนไหวทางอารมณ์สูงและต้องการการดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างเป็นพิเศษ หากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุเป็นโรคซึมเศร้า (Depression in elderly people) ได้
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza หรือ flu) เป็นสาเหตุสำคัญของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน ซึ่งมีอัตราการเสียชีวิตสูงในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคไต โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง หรือผู้มีโรคประจำตัว เช่น โรคหลอดเลือดสมอง ปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหอบหืด โรคหัวใจ มักเสี่ยงที่จะมีอาการรุนแรงกว่าปกติ
การบริหารสมองผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา-ดู, หู-ฟัง, ลิ้น-ชิมรส, จมูก-ดมกลิ่น และมือ-สัมผัส จะช่วยให้สมองมีความฉับไวและชะลอความเสื่อม ลดโอกาสเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์และภาวะหลงลืมก่อนวัย
นอกจากปัญหาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขาและแขนแล้ว ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอาจมีอาการผิดปกติของการพูดและความเข้าใจภาษา (Aphasia) ร่วมด้วย โดยผู้ป่วยอาจมีอาการผิดปกติดังกล่าวนานเป็นปี
เมื่อมีอายุมากขึ้นระบบการทำงานของร่างกายจะเสื่อมถอยลงทำให้เสี่ยงต่อการบาดเจ็บหกล้ม หากเกิดการหกล้มแล้วไม่ได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ผู้สูงอายุมีโอกาสสูงที่จะกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง (bedridden) ได้
โรคลมร้อน หรือ Heat stroke เป็นความผิดปกติของร่างกายที่เกิดเมื่ออุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่สามารถระบายความร้อนออกได้ทัน หากไม่ได้รับการรักษาทันทีผู้ป่วยมีโอกาสสูงที่จะเสียชีวิต
อาการเบื่ออาหารในผู้สูงอายุมักเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน การรับประทานอาหารได้น้อยลงอาจนำไปสู่ภาวะขาดสารอาหารและปัญหาสุขภาพอื่นๆ ได้
เว็บไซต์นี้มีการเก็บคุกกี้ ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน้า นโยบายคุกกี้