“โรคอัลไซเมอร์” เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะสมองเสื่อม เป็นโรคที่ยังรักษาให้หายขาดไม่ได้แต่สามารถชะลอการเกิดหรือลดอัตราการเสื่อมถอยของโรคได้
Click เพื่ออ่านต่อ
“ภาวะกลืนลำบาก” อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น การขาดสารอาหารและน้ำ การสำลักอาหารและการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ การบริหารกล้ามเนื้อที่ช่วยในการกลืนจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง
การใช้ศิลปะร่วมในการบำบัดและรักษาผู้ป่วยสูงอายุ ได้รับการยอมรับในประสิทธิภาพมาอย่างยาวนาน งานวิจัยทางการแพทย์พบว่า ศิลปะมีประโยชน์หลายประการ
การฝึกเดิน (Gait training) เป็นส่วนสำคัญของการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การเตรียมพร้อมก่อนการฝึกจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเดินได้ด้วยตนเองเร็วขึ้นและมีรูปแบบการเดินที่ดี
ภาระการดูแลผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะพึ่งพิงเป็นงานที่เหน็ดเหนื่อย ใช้เวลาและก่อให้เกิดความตึงเครียดสูง ผู้ดูแลอาจจะเกิดความเหนื่อยล้า (Caregiver burden) หรืออาการหมดไฟในการดูแล (Caregiver burnout) ได้
การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างสถานพยาบาลและครอบครัว การดูแลที่ดีจะลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อน ความพิการและการเสียชีวิต ผู้ดูแลผู้ป่วยจึงจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง และเตรียมพร้อมรับมือปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
“ภาวะกลืนลำบาก” (Dysphagia) คือหนึ่งในปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุที่เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาทิ ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการกลืน โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสมองเสื่อม เป็นต้น ผู้สูงอายุที่มีภาวะหรือโรคเหล่านี้อาจมีภาวะกลืนลำบากสูงถึง 50-75% และภาวะสำลักเงียบร่วมด้วยถึง 40 – 70 % ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบติดเชื้อรุนแรงตามมา
เว็บไซต์นี้มีการเก็บคุกกี้ ซึ่งเป็นการจัดการข้อมูลส่วนบุคคลและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หน้า นโยบายคุกกี้